วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การทริมเครื่องบิน เบื้องต้น

การทริมเครื่องบิน ขั้นต้น (1)

การทริมเครื่องบินเป็นขั้นตอนที่ทำหลังจากที่ติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ครบถ้วนแล้ว
ก็จะทำการบินเพื่อปรับทริมที่ตัวเครื่องบินก่อน เพื่อให้สามารถทำการบินได้ดีในแต่ละมิติ
ซึ่งขั้นตอนหลังจากนี้เราถึงค่อยไปปรับค่า R
ate, Mixing ต่างๆ ที่วิทยุกันต่อ




สิ่งที่ต้องตรวจสอบ

วิธีทดสอบ

สังเกตุ/ตรวจ

การแก้ไข/ปรับปรุง

1.ค่ากึ่งกลางของผิวบังคับต่างๆ

บินเครื่องบิน(ปกติ)
โดยบินเป็นเส้นตรงและระดับ

ปรับทริมที่วิทยุ
จนกระทั่งเครื่องบินสามารถบินได้ตรงและไม่เสียระดับการบิน
โดยปล่อยมือได้


ปรับระยะของคันชักต่างๆที่มีการทริม
เพื่อให้ค่าทริมอยู่ตรงค่ากลางเหมือนเดิม

2.การทำงานของผิวบังคับ

บินและโยกแต่ละคันบังคับเต็มที่
ได้แก่
aileron,
elevator, rudder

ตรวจสอบการตอบสนองในแต่ละผิวบังคับ

Aileron:  ท่าหมุนควง
Hi-rate ~1
รอบ/วินาที

Lo-rate ~1/2 
รอบ/วินาที
Elevator: ท่า Loop

Hi-rate
ควรจะหักเลี้ยวแบบตั้งฉากได้ดี
Lo-rate
ทำท่า loop เส้นผ่านศูนย์กลาง
~130 ฟุต
Rudder: การหักเลี้ยว
Hi-rate 
ทำท่า stall turn ได้ที่ ~30-35 องศา

Lo-rate 
ทำท่าknife-edge ได้

3. CG / จุดศูนย์ถ่วง
(วิธีที่ 1)

ควง ณ.ตำแหน่งเลี้ยวทางแนวดิ่ง



A.หัวตก
B. หางตก

A.เพิ่ม-ถ่ายน้ำหนักด้านหลัง
B.เพิ่ม-ถ่ายน้ำหนักด้านหน้า

(วิธีที่ 2)

บินหงายท้อง

A.ต้อง down elevator ตลอด
B. ไม่ต้อง down elevator แต่เครื่องไต่ระดับ

A. เพิ่ม-ถ่ายน้ำหนักด้านหลัง
B. เพิ่ม-ถ่ายน้ำหนักด้านหน้า

4. ปีก

ตัดเครื่องในแนวดิ่ง
ขวางลม
(ถ้ามี).
ปล่อยคันโยกทั้งหมด



elevator ต้องอยู่กึ่งกลาง

A.เครื่องบินบินลงตรงๆ
B.เครื่องบินเชิดหัว
(nose up)
C. เครื่องบินมุด
(nose down)

A.ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ
B.ลด incidence


C. เพิ่ม incidence

5. ถ่วงน้ำหนักปลายปีก
(บินปกติ)

ทำการบินปกติ แนวตรง และรักษาระดับ


ปรับทริม aileron เพื่อให้ปีกตรงเปลี่ยนท่าบินพลิกคว่ำ ประคองปีกให้ระดับ




จากนั้นปล่อยคันโยก
aileron เพื่อสังเกตุการทิ้งของปีกแต่ละด้าน

A.เครื่องบินบินได้ระดับ
B.ปีกซ้าย เสียระดับ
C.ปีกขวา เสียระดับ

A.ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ
B.เพิ่มน้ำหนักที่ปลายปีกขวา
C.เพิ่มน้ำหนักที่ปลายปีกซ้าย

6. การวางแนวของ
Elevator



(สำหรับเครื่องบินที่ใช้
elevator
แยกกัน)

บินเครื่องบิน
แนวบินออกจากตัวนักบิน
เข้าหาลม




ดึงคันโยก
เพื่อทำท่า
inside
loop
หรือไต่ระดับแนวดิ่ง

พลิกตัวเปลี่ยนท่าหงายท้อง


ดันคันโยก
เพื่อทำท่า
outside
loop
หรือไต่ระดับแนวดิ่ง


A.
ไม่มีแนวโน้มการควงตัว
เมื่อโยก
elevator
B.
เครื่องบินมีอาการควงตัว
ด้านเดียวกันทั้งสอง
loop
C. เครื่องบินมีอาการควงตัว
ด้านตรงข้ามกันทั้งสอง
loop

A Elevators ทั้งคู่ทำงานเท่ากัน

B. Elevator ด้านนึงติดตั้งสูงหรือต่ำกว่าอีกด้านนึง

C. Elevator 
ด้านนึงกวาดแขนได้ทำงานมากกว่าอีกด้านนึง,
(เครื่องบินจะควงไปด้านนั้น).
ให้ลด travel ของservo ด้านนั้น
หรือเพิ่มอีกด้านนึง




หมายเหตุ
  1. การทริม ควรทำในสภาวะที่ลมค่อนข้างสงบ
  2. ทดสอบหลายๆครั้ง ก่อนที่จะทำการปรับเปลี่ยน
  3. หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่ทำกลับไปกว่าขั้นตอนก่อนหน้าและตรวจสอบหรือปรับได้ตามความจำเป็น
  4. ค่ามุมต่างที่ทำมุมกับแนวแรงขับ องศาหน้าปีกและstabiliizer ต่างๆ องศา, Downthrust ~1.5 องศาและแรงขับทางด้านขวา ~1.5 องศา (Right thrust)
  5. เครื่องบินควรจะตรงอย่างสมบูรณ์ ขณะที่สร้าง/ประกอบ
  6. ตรวจสอบความสมดุลของเครื่องบินก่อนที่จะบิน
  7. การตั้งค่า CG ระหว่าง 34% และ 38% ของ MAC
  8. เมื่อปิดมอเตอร์ทั้งหมด เครื่องบินร่อนได้ในแนวตั้ง
  9. Aileron 12 องศาขึ้นและระหว่าง 11-12 องศาลงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
ขั้นตอนเหล่านี้ใช้ตลอดอายุของเครื่องบินของคุณ หากมีการเปลี่ยนแปลงสภาพควรตรวจสอบของลำตัวและชิ้นส่วนการควบคุมอย่างระมัดระวังเพื่อตรวจสอบสิ่งที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง.!

ขอให้สนุกกับการบินสราวุธ จิรขจรชัย
23 มิถุนายน 2554

ไม่มีความคิดเห็น: